หน้าแรก
แผนงานต่างๆ
ผลการปฏิบัติงาน
การจัดการองค์ความรู้
ติดต่อเทศบาล
แผนพัฒนาท้องถิ่น
> เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
> เทศบัญญัติเทศบาลตำบลสันปูเลย
> แผนอัตรากำลัง 3 ปี
> แผนการดำเนินงาน
> แผนยุทธศาสตร์และการพัฒนา
> รายงานการติดตามแผนประจำปี
> แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต 4 ปี
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)
> หลักเกณฑ์ มาตราการจัดการข้อร้องเรียน
> การแสดงเจตจำนงค์ความสุจริต
> การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)
> การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) พ.ศ. 2564
การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น LPA
> การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น LPA
ผลการปฏิบัติงาน
> รายงานทางการเงิน
> รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี
> สรุปรายงานการประชุมสภาเทศบาล
มาตรฐานกำหนดตำแหน่งพนักงาน
> ประเภทงานบริหารงานท้องถิ่น
> ประเภทอำนวยการท้องถิ่น
> ประเภทวิชาการ
> ประเภททั่วไป
> สมรรถนะหลัก
> สมรรถนะรอง
> สมรรถนะผู้บริหาร
> สมรรถนะประจำสาย
การจัดการองค์ความรู้
> แผนเส้นทางความก้าวหน้าในสายงานอาชีพ
> เอกสารเผยแพร่ขั้นตอนตกลงราคา-E-GP
> 108 วิธีประหยัดพลังงาน
> ความสุขในการทำงาน
> 5 ส.กับการทำงาน
> แผนพัฒนาบุคลากร 2558 - 2560
> แนะนำการชำระภาษี
> การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
> คู่มือการจัดเก็บรายได้
> พรบ.ควบคุมอาคาร
> แผนส่งเสริมการท่องเที่ยว
> การจัดการองค์ความรู้
กระดานสนทนา
> แบบสำรวจความพึงพอใจ
> กระดานข่าวถาม - ตอบ
ติดต่อเทศบาล
> ติดต่อเรา
หน้าแรก
(current)
แผนงานต่างๆ
แผนพัฒนาท้องถิ่น
> เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
> เทศบัญญัติเทศบาลตำบลสันปูเลย
> แผนอัตรากำลัง 3 ปี
> แผนการดำเนินงาน
> แผนยุทธศาสตร์และการพัฒนา
> รายงานการติดตามแผนประจำปี
> แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต 4 ปี
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)
> หลักเกณฑ์ มาตราการจัดการข้อร้องเรียน
> การแสดงเจตจำนงค์ความสุจริต
> การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)
> การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) พ.ศ. 2564
การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น LPA
> การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น LPA
ผลการปฏิบัติงาน
ผลการปฏิบัติงาน
> รายงานทางการเงิน
> รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี
> สรุปรายงานการประชุมสภาเทศบาล
มาตรฐานกำหนดตำแหน่งพนักงาน
> ประเภทงานบริหารงานท้องถิ่น
> ประเภทอำนวยการท้องถิ่น
> ประเภทวิชาการ
> ประเภททั่วไป
> สมรรถนะหลัก
> สมรรถนะรอง
> สมรรถนะผู้บริหาร
> สมรรถนะประจำสาย
การจัดการองค์ความรู้
การจัดการองค์ความรู้
> แผนเส้นทางความก้าวหน้าในสายงานอาชีพ
> เอกสารเผยแพร่ขั้นตอนตกลงราคา-E-GP
> 108 วิธีประหยัดพลังงาน
> ความสุขในการทำงาน
> 5 ส.กับการทำงาน
> แผนพัฒนาบุคลากร 2558 - 2560
> แนะนำการชำระภาษี
> การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
> คู่มือการจัดเก็บรายได้
> พรบ.ควบคุมอาคาร
> แผนส่งเสริมการท่องเที่ยว
> การจัดการองค์ความรู้
ติดต่อเทศบาล
กระดานสนทนา
> แบบสำรวจความพึงพอใจ
> กระดานข่าวถาม - ตอบ
ติดต่อเทศบาล
> ติดต่อเรา
ยินดีต้อนรับเข้าสู่เทศบาลตำบลสันปูเลยค่ะ :: ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศ เทศบาลตำบลสันปูเลย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
แบบประเมิน LPA (Local Performance Assessment)
เทศบาลตำบลสันปูเลย
ด้านที่ 1 การบริหารจัดการ
หน่วยที่ 1 การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น
1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565)
1. รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและคณะกรรมการการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนำโครงการการบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะมาจัดทำเป็นงบประมาณรายจ่าย
1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565)
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือ เพิ่มเติม
3. การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ฯลฯ
4. การโอนตั้งจ่ายเป็นรายการใหม่/โอนเพิ่ม เปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณสำหรับการพัฒนาท้องถิ่น
3. แผนพัฒนาท้องถิ่นมีความเชื่อมโยงหรือสอดคล้องยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565)
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือเพิ่มเติม
3. การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ฯลฯ
4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแนวทางการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
1. รายงานการประชุมคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผน
2. รายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
3. รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น
4. ประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยผู้บริหารท้องถิ่น
5. องค์การบริหารส่วนจังหวัดนำโครงการพัฒนาในแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565) ที่ได้ผ่านกระบวนการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ/ระดับจังหวัด มาดำเนินการโดยใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติมหรือเงินนอกงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
1. รายงานการประชุมคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับอำเภอ
2. รายงานการประชุมคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับจังหวัด
3. แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565)
4. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือเพิ่มเติม
5. การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ฯลฯ
6. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) มาเป็น กรอบในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น และข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
1. แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565) ที่แสดงถึงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
2. โครงการ/กิจกรรมในข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายที่แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
หน่วยที่ 2 การจัดทำฐานข้อมูล
7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบันทึกข้อมูลตามฐานข้อมูลสำคัญตามกรอบระยะเวลา
1. มีการบันทึกข้อมูลตามฐานข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่องทุกระบบ ตามแนวทางที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด
2. การบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มฝ.1, มฝ.2) บันทึกและรับรองในระบบสารสนเทศด้านการจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นปัจจุบัน
3. ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (INFO) ให้เป็นปัจจุบัน และผ่านการรับรองความถูกต้องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเรียบร้อยแล้ว
หน่วยที่ 3 การจัดการข้อร้องเรียน
8. ร้อยละของข้อร้องเรียนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง
1. มีการมอบหมายสำนัก/กอง/ฝ่าย/เจ้าหน้าที่ รับผิดชอบและมีคำสั่งแต่งตั้ง
2. ทะเบียนรับเรื่องร้องเรียน
3. หลักฐานการรางานผลให้ทราบภายใน 15 วัน
9. ร้อยละของข้อร้องเรียนที่มาจากศูนย์ดำรงธรรมที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง
1. มีการมอบหมายสำนัก/กอง/ฝ่าย/เจ้าหน้าที่ รับผิดชอบและมีคำสั่งแต่งตั้ง
2. ทะเบียนรับเรื่องร้องเรียน
3. หลักฐานการรางานผลให้ทราบภายใน 15 วัน
4. ข้อมูลศูนย์ดำรงธรรมอำเภอหรือจังหวัด
หน่วยที่ 4 การบริการประชาชน
10. การอำนวยความสะดวกในการบริการประชาชน เพื่อมุ่งสู่ประโยชน์สุขของประชาชนผู้รับบริการและมีประสิทธิภาพอย่างเป็นระบบ
1. การจัดสถานที่ หรือสิ่งอำนวยความสะดวกตามหัวข้อเกณฑ์การประเมินด้วยข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและสามารถพิสูจน์ได้ในระดับหนึ่ง (เป็นที่ยอมรับได้)
2. แบบคำร้อง คำสั่งให้เจ้าหน้าที่บริการล่วงเวลา/พักเที่ยง หรือวันหยุดราชการหลักฐานการใช้บริการในช่วงเวลาดังกล่าว
3. ตรวจสอบสัญญาณ WiFi ของ อปท. การจัดมุมอินเทอร์เน็ต
4. เอกสารประเมินความพึงพอใจ ฯลฯ
11. ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะติดต่อสอบถามหรือขอข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. คู่มือสำหรับประชาชนที่ อปท. จัดทำขึ้น
2. ตรวจสอบสัญญาณ WiFi ของ อปท. การจัดมุมอินเทอร์เน็ต
3. เอกสารประเมินความพึงพอใจ
4. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์ของ อปท.
12. การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Citizen-Feedback)
1. หลักฐานแบบประเมินความพึงพอใจ
2. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจที่ประมวลผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
3. เอกสารหรือรายการหรือวัสดุหรือครุภัณฑ์ที่แสดงให้เห็นถึงการให้คะแนนและแสดงความคิดเห็นของประชาชน เพื่อให้มีการปรับปรุงบริการของ อปท.
4. มีและใช้อุปกรณ์อ่านบัตรแบบอเนกประสงค์ (Smart Card Reader) ในการบริการประชาชน
หน่วยที่ 5 ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
13. การประเมินผลการควบคุมภายใน ระดับหน่วยงานของรัฐ ตามแบบ ปค. 1 แบบ ปค.4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6
1. รายงานระดับหน่วยงานของรัฐ ตามแบบ ปค. 1 แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6
2. หนังสือนำส่งรายงานให้ผู้กำกับดูแล
14. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผู้ตรวจสอบภายในหรือมอบหมายให้มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ ผู้ตรวจสอบภายในและปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นไปตามที่หลักเกณฑ์ฯ กำหนด
1. ข้อมูลอัตรากำลังตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน (กรณีมีผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้ตรวจสอบภายใน)
2. คำสั่งมอบหมายให้มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายใน (กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้ตรวจสอบภายใน)
3. แผนการตรวจสอบภายในประจำปี
4. รายงานผลการตรวจสอบ
หน่วยที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หน่วยย่อยที่ 1 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
15. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดทำข้อตกลง ในการปฏิบัติราชการระหว่าง ส่วนราชการกับผู้บริหารท้องถิ่น
1. มีหนังสือ/เอกสาร เป็นข้อตกลงในการปฏิบัติราชการ
2. มีรายงานผลการปฏิบัติราชการ
3. มีเอกสารการลงนามของผู้มีอำนวยการสำนัก/กอง/ฝ่ายและข้าราชการ พนักงานจ้าง ลูกจ้างประจำ ได้ลงนามทราบทุกคน
16. มีการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินผล การปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประเมินผลตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีบุคคลภายนอกร่วมเป็นกรรมการ
1. คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลฯ ที่มีผู้แทนชุมชน องค์กร ภาคประชาชน ภาคเอกชน ร่วมเป็นกรรมการ ที่เป็นปัจจุบัน
2. รายงานการประชุมคณะกรรมการประเมินผลฯ
3. รายงานผลการประเมินผลและเสนอ แนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน ให้ครบทั้ง 4 ด้าน
4. ผู้บริหารพิจารณาผลการประเมินและสั่งการ เสนอแนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน
หน่วยย่อยที่ 2 ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA)
17. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผลคะแนน LPA โดยรวมเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
1. ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. (LPA) ปี 2561 เทียบกับปี 2562
หน่วยที่ 7 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน
18. การมอบอำนาจการตัดสินใจ เพื่อปฏิบัติราชการ
1. หนังสือหรือคำสั่งมอบอำนาจ พร้อมบัญชีการมอบอำนาจแนบท้าย (ไม่ใช่คำสั่งรักษาราชการแทน) ที่เป็นปัจจุบัน
2. การมอบอำนาจต้องเป็นเรื่องที่มีผลโดยตรงต่อประชาชนและเป็นอำนาจของผู้บริหาร อปท.
3. จำนวนหรือร้อยละของหนังสือ หรือคำสั่งมอบอำนาจที่ปฏิบัติจริงโดยการลงนามของ ผู้ได้รับมอบอำนาจ อย่างน้อยร้อยละ 80
19. มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรคมนาคมเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1. มีและใช้อุปกรณ์อ่านบัตรแบบอเนกประสงค์ (Smart Card Reader) ในการบริการประชาชน
2. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์ ของ อปท.
3. ตรวจสอบข้อเท็จจริงที่มีอยู่จริง เช่น มี wifi ใช้งานจริงหรือไม่ หรือมีการใช้โปรแกรม อนุมัติงานก่อสร้างจริงหรือไม่ เป็นต้น
20. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการบูรณาการ (Intergration) โครงการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นตามอำนาจหน้าที่ ร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่น หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยที่ 8 การปรับปรุงภารกิจ
21. ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (2560 – 2562) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงยกเลิกภารกิจ หรือข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
1. คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะทำงาน
2. รายงานการประชุมคณะทำงาน
3. บันทึกเสนอผู้บริหารเอกสารแสดงการขับเคลื่อนการดำเนินงานหลังจากการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภารกิจ หรือข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ เสนอผู้บริหารพิจารณา
หน่วยที่ 9 การดำเนินงานตามนโยบายของจังหวัด
22. (ตัวอย่าง) จำนวนกิจกรรม ที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ดำเนินการในโครงการ (ระบุโครงการหรือกิจกรรมให้ชัดเจน)
1. ข้อมูลการประสานหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องเช่น ที่ทำการปกครองอำเภอ/จังหวัด สาธารณสุขอำเภอ/จังหวัด สถานีตำรวจในพื้นที่
2. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ป้าย แผ่นพับ เว็บไซต์ ภาพถ่าย วารสาร ใบปลิว จดหมายข่าว
3. โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงเกณฑ์การประเมินที่ได้กำหนดไว้
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
หน่วยที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์
24. การจัดทำแผนอัตรากำลังสามปี
1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลังว่าได้ระบุเลขที่คำสั่งหรือไม่และระบุคำสั่งเลขที่เท่าใด
2. หนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลังหรือเอกสารที่อ้างอิงว่าได้มีการแจ้งให้มีการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง
3. รายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง ที่ได้แนบไว้ในเล่มแผนอัตรากำลังสามปี ประจำปี 2561 - 2563 (มีบันทึกการประชุมที่แสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมการตัดสินใจด้วยกันอย่างชัดเจน)
4. มติ ก.จังหวัด ในครั้งที่มีการพิจารณาแผนอัตรากำลังของ อปท.
25. การออกคำสั่งด้านการบริหารงานบุคคล
1. ประกาศกำหนดส่วนราชการและอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ
2. คำสั่งมอบหมายหน้าที่การงานให้ ข้าราชการของแต่ละส่วนราชการ
3. คำสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทนปลัด/ผอ. ของแต่ละส่วนราชการ
4. คำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนของส่วนราชการ (โดยตรวจสอบตัวบุคคลในคำสั่ง กับในคำสั่งที่มีอยู่จริง)
5. คำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนปลัด อปท. เป็นไปตามหลักเกณฑ์กำหนด คือ ให้รองปลัดรักษาราชการแทนปลัด กรณีไม่มีรองปลัดให้แต่งตั้งผู้อำนวยการ(สำนัก/กอง/ส่วน) เป็นผู้รักษาราชการแทน
6. คำสั่งมอบหมายหน้าที่การงานให้รองปลัดปฏิบัติหน้าที่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
26. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการอบรมหรือฝึกอบรมบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. เอกสารการวิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการของบุคลากร ที่ผู้บริหารท้องถิ่นได้ ลงนาม และประกาศเพื่อทราบ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนพัฒนาบุคลากรประจำปี
3. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
27. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการส่งบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ารับการอบรมหรือฝึกอบรม
1. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
2. คำสั่ง/อนุญาต/อนุมัติหนังสือส่งตัวบุคลากร
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
28. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) บุคลากรทุกสายงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในสายงาน เฉลี่ยร้อยละ ของสายงานที่มีในแผนอัตรากำลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. แผนอัตรากำลังสามปีที่ใช้อยู่เป็นปัจจุบัน และมีอัตรากำลังที่มีอยู่จริง
2. เอกสารที่รับรองว่าผ่านการฝึกอบรมจากหน่วยที่จัด เช่น ใบประกาศ/วุฒิบัตร หนังสือรับรองหรืออื่น ๆ ปีพ.ศ. 2562
3. ตรวจสอบเฉพาะข้าราชการ/พนักงานเทศบาล/พนักงานส่วนตำบลเท่านั้น
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
29. การจัดทำมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. มีประกาศหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม
2. มีจัดทำประกาศหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ
3. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
30. การส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม รวมถึงการป้องกันการกระทำผิดจริยธรรม
1. ประกาศเจตนารมณ์การป้องกัน และต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น
2. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์ ของ อปท.
หน่วยที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล
31. ข้อมูลตำแหน่งในแผนอัตรากำลังสามปี
1. แผนอัตรากำลังสามปีที่ใช้อยู่เป็นปัจจุบัน
32. ข้อมูลข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจ
1. ทะเบียนประวัติแนวทางในการตรวจสอบ
2. การบันทึกประเภท ระดับและวันเกษียณอายุของจำนวนพนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างประจำ ไม่รวมพนักงานจ้าง
3. ข้อมูล ณ วันที่ทีมประเมินฯ เข้าตรวจ
4. การบันทึกข้อมูลของ อปท. ในระบบ
33. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจ
1. ตรวจสอบความสำเร็จของการเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราชการ
2. เอกสารการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินประสิทธิภาพและประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติราชการของพนักงานส่วนท้องถิ่นและลูกจ้างประจำ
3. เอกสารการประชุมคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/เลื่อนขั้นค่าจ้าง
4. สุ่มสอบถามตามข้อ 2 และข้อ 3 เป็นรายบุคคลว่ามีความโปร่งใสและเป็นธรรมอย่างไร อย่างน้อยรวมกันแล้ว 3 คน
34. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
1. การคำนวณวงเงินร้อยละ 3 ที่สามารถจะใช้เลื่อนเงินเดือนข้าราชการ หรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น ทั้งหมดที่มีตัวอยู่จริง (รวมผู้ที่ไปช่วย ราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือส่วนราชการอื่นด้วย) ให้ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 1 มี.ค หรือ วันที่ 1 ก.ย
2. จำนวนร้อยละที่จะไว้ใช้ในการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครู และบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น แต่ละคนในแต่ละครั้งไม่เกินร้อยละ 6 ของฐาน ในการคำนวณของแต่ละคน
3. มีการประกาศอัตราร้อยละของฐานในการคำนวณที่ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือน ต้องประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไปอย่างช้าที่สุดพร้อมกับการมีคำสั่งเลื่อนเงินเดือน
4. การเกลี่ยเงินจะต้องเกลี่ยภายในกลุ่มอันดับเงินเดือนเดียวกันเท่านั้น
5. ผู้ได้รับเงินเดือนถึงขั้นสูงของอันดับมีการ ออกคำสั่งให้ได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นสูงของอันดับเงินเดือนตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. กำหนดก่อน จึงจะออกคำสั่งเลื่อนเงินเดือน รอบใหม่
6. หนังสือแจ้งผลการเลื่อนเงินเดือน
35. การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
1. การแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานมีการแต่งตั้งเป็นไปตามประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่นหรือไม่
2. การใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทาง การศึกษาส่วนท้องถิ่น
- สายงานการสอน
- สายงานบริหารสถานศึกษา
- สายงานนิเทศการศึกษา
3. การแจ้งผลการประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทาง การศึกษาส่วนท้องถิ่น
36. ระยะเวลาการออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือน และระยะเวลาการบันทึกข้อมูลคำสั่ง
1. ความสำเร็จของการออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือน และการบันทึกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือน ในระบบทะเบียนประวัติ ก.พ.7 ของข้าราชการ ครู ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง ในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR)
37. มีการควบคุมการลงเวลาปฏิบัติราชการ เข้าและออกของข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง (ตามภารกิจ/ทั่วไป/อื่น ๆ)
1. ตรวจสอบความสำเร็จของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นเครื่องมือในการควบคุมเวลาการปฏิบัติราชการ และนำข้อมูลเวลาการปฏิบัติราชการไปประกอบการพิจารณาความดีความชอบ
38. การบันทึกข้อมูลในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR)
1. ตรวจสอบความสำเร็จการบันทึกข้อมูลทะเบียนประวัติ ก.พ. 7 ของข้าราชการ ครู ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง ในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR)
หน่วยที่ 3 คุณภาพชีวิตและความสมดุลของชีวิตกับการทำงาน
39. การทำงานขององค์กรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใช้หลักการบริหารงานบุคคลท้องถิ่น ตามประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
1. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปี พ.ศ. 2562
2. ตรวจสอบการรักษาสภาพแวดล้อมในการทำงานและบรรยากาศที่สนับสนุนให้ข้าราชการลูกจ้าง มีความสุขพึงพอใจและมีแรงจูงใจในการทำงาน
3. มีรายงานการประชุมบุคลากร เพื่อพัฒนาสถานที่ทำงานให้ Clean & Green
4. มีการจัดกลุ่มในการทำงาน สร้างความร่วมมือร่วมใจในการทำงาน เช่น กิจกรรม 5 ส.
40. ผู้บริหารท้องถิ่นมีการประเมินความพึงพอใจและแรงจูงใจของบุคลากร
1. แบบประเมินความพึงพอใจและแรงจูงใจ
2. ตรวจสอบการรักษาสภาพแวดล้อมในการทำงานและบรรยากาศที่สนับสนุนให้ข้าราชการลูกจ้าง มีความสุขพึงพอใจและมีแรงจูงใจในการทำงาน
3. มีบันทึกหรือหนังสือหรือแผนงานที่ผู้บริหารท้องถิ่นแจ้งบุคลากรให้ทราบถึงการปรับปรุงงาน เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการทำงาน
4. มีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการทำงาน
หน่วยที่ 4 ความรับผิดชอบและประสิทธิผลการบริหารทรัพยากรบุคคล
41. การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเพื่อประกอบการบริหารงานบุคคลในหลักประสิทธิผล
1. ต้องมีการประเมินถูกต้องตามประกาศ ก.จังหวัดภายใต้หลักเปิดเผยโปร่งใส มีประสิทธิภาพ
2. ให้ตรวจสอบแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน และรายงานการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักเกณฑ์
42. การเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการ รักษาวินัย
1. โครงการ/กิจกรรมในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
2. เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินการสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการรักษาวินัย
3. มติ ก. จังหวัด หรือหนังสือ/คำสั่ง ของ อปท. ที่เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยที่ 5 การดำเนินกิจการสภาท้องถิ่น
43. การบันทึกข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นในระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่น ให้ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
1. ระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่นและทะเบียน อปท. โดยตรงที่เว็บไซต์ http://ele.dla.go.th ข้อมูล ณ วันที่ตรวจสอบ
2. จนท. ผู้รับผิดชอบเปิดข้อมูลจากรหัสผู้ใช้งานและรหัสผ่านของ อปท. นั้น ๆ
หน่วยที่ 1 การจัดเก็บรายได้
44. ในปี พ.ศ. 2562 ผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารท้องถิ่นได้มาร่วมประชุมสภาสมัยสามัญทุกสมัยและทุกครั้ง (ยกเว้นกรณีการประชุมที่มีการพิจารณาญัตติที่เกี่ยวข้องกับสภาท้องถิ่นโดยตรงไม่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารท้องถิ่น)
1. ตรวจสอบจากรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น สมัยสามัญ ทุกสมัยและทุกครั้ง
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
45. การอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานและ มีการจัดเอกสารเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่สำคัญให้แก่สภาท้องถิ่น
1. สอบถามและตรวจสอบเกี่ยวกับสถานที่วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ และบุคลากรว่ามีความพร้อม ที่จะอำนวยความสะดวกแก่การปฏิบัติของสภาท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ อย่างไร
2. ตรวจสอบเอกสารที่จัดไว้ ประกอบด้วยกฎหมาย ระเบียบที่แก้ไขถึงปีปัจจุบัน และตรวจสถานที่ประชุม
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
46. การพัฒนาความรู้ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่น
1. คำสั่ง/หนังสือที่ผู้บริหารเห็นชอบให้เข้ารับการพัฒนาความรู้
2. รายงานผลการพัฒนาความรู้ที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
47. การกำหนดสมัยประชุมสามัญ การเรียกประชุมสภาสมัยสามัญ และการนัดประชุมสภาสมัยสามัญ นัดแรกของแต่ละสมัย
1. การกำหนดสมัยประชุมสามัญ การเรียกประชุมสภาสมัยสามัญ และ การนัดประชุมสภาสมัยสามัญนัดแรกของ แต่ละสมัย
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
48. การส่งสำเนาร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. มีหนังสือเสนอร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากเจ้าหน้าที่งบประมาณและผู้บริหารท้องถิ่นลงนามรับทราบ
2. มีหนังสือผู้บริหารท้องถิ่น เสนอญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ให้กับประธานสภาท้องถิ่น
3. มีหนังสือประธานสภาท้องถิ่น ส่งร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ให้สมาชิกสภาท้องถิ่น
49. การตั้งคณะกรรมการแปรญัตติพิจารณา ร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2562
1. การตั้งคณะกรรมการแปรญัตติพิจารณา ร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ
2. มีเอกสารบันทึกการประชุมเพื่อเลือกประธานคณะกรรมการแปรญัตติและเลขานุการ คณะกรรมการแปรญัตติ
50. การกำหนดระยะเวลาเสนอคำแปรญัตติต้องไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่สภาท้องถิ่น มีมติรับหลักการแห่งร่างข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
1. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
2. บันทึกการประชุมคณะกรรมการแปรญัตติ
51. การจัดทำรายงานของคณะกรรมการแปรญัตติตามข้อ 50 ของระเบียบกระทรวง มหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
1. รายงานการประชุมสภาท้องถิ่นเมื่อครั้งที่มีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ในวาระที่ 2 ขั้นแปรญัตติและในวาระที่ 3 ขั้นลงมติ
2. เอกสารรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นและการแปรญัตติของคณะกรรมการแปรญัตติ
52. สภาท้องถิ่นได้ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
1. ตรวจสอบรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นทุกครั้ง ในปี 2562
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
ด้านที่ 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
หน่วยที่ 1 การจัดเก็บรายได้
53. มีการออกข้อบัญญัติองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด จัดเก็บภาษี และค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัด จากการค้าน้ำมัน ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรม
1. ให้ตรวจสอบจากข้อบัญญัติ อบจ. เพื่อจัดเก็บรายได้ทั้ง 3 ประเภท
2. สำเนาใบเสร็จรับเงินที่แสดงว่าได้มีการจัดเก็บ
54. การรายงานสถิติการคลังท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ 2562 ภายในระยะเวลาที่กำหนด สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ตรวจสอบจาก วัน/เดือน/ปีที่ อปท.ได้รายงานข้อมูลสถิติการคลังปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ผ่านระบบฐานข้อมูลกลาง อปท. (INFO) ซึ่งต้องรายงานภายในวันที่ 31 ต.ค. 2562 และระบบฐานข้อมูลกลางจะปิดระบบการรายงานภายในวันที่ 1 ธ.ค. 2562
55. การประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์และวิธีการ จัดเก็บภาษี
1. ให้ตรวจสอบจากการประชาสัมพันธ์ การจัดเก็บภาษีในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook Line ฯลฯ เว็บไซต์ จดหมายข่าว ป้ายประชาสัมพันธ์ สื่อสิ่งพิมพ์ หอกระจายข่าว/เสียงตามสาย/หน่วยประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ และจดหมายแจ้งผู้เสียภาษีโดยตรง เป็นต้น
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
56. จำนวนผู้ชำระภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุง องค์การบริหารส่วนจังหวัดจากน้ำมัน, ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรมต่อจำนวนผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระโดยรวมในปี 2562
ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีทั้งหมด โดยนับจำนวนผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีและค่าธรรมเนียมทั้งหมด กับจำนวนผู้ที่ได้ชำระภาษีและค่าธรรมเนียมในปี 2562
57. การเพิ่มขึ้นของจำนวนเงินภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดจากน้ำมัน, ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรมโดยรวม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ตรวจสอบจำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากรายรับจริงประกอบงบทดลองปีงบประมาณ 2561 และ 2562 ของภาษี 3 เรื่อง (ภาษีน้ำมัน ภาษียาสูบ และค่าธรรมเนียมจากผู้พักในโรงแรมแล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบ) ประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
58. การเพิ่มขึ้นของจำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากค่าธรรมเนียมในการให้บริการ ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ รายได้จากการจัดหาประโยชน์ทรัพย์สิน และจากการดำเนินกิจการอื่นโดยรวม ยกเว้นภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัดจากน้ำมัน ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรม
ตรวจสอบจำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากรายรับจริงประกอบงบทดลองปีงบประมาณ 2561 และ 2562 แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
59. มีการออกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติท้องถิ่น และได้จัดเก็บตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535
มีการออกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติท้องถิ่น และได้จัดเก็บตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535
60. การรายงานสถิติการคลังท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายในระยะเวลา ที่กำหนดสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ตรวจสอบจากวัน/เดือน/ปีที่ อปท.ได้รายงานข้อมูลสถิติการคลังปีงบประมาณ 2562 ผ่านระบบฐานข้อมูลกลาง อปท. (INFO) ซึ่งจะต้องรายงานให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ต.ค. 2562
61. การประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเก็บภาษี
1. ให้ตรวจสอบจากการประชาสัมพันธ์ การจัดเก็บภาษีในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook Line ฯลฯ เว็บไซต์ จดหมายข่าว ป้ายประชาสัมพันธ์ สื่อสิ่งพิมพ์ หอกระจายข่าว/เสียงตามสาย/ หน่วยประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ และจดหมาย แจ้งผู้เสียภาษีโดยตรง เป็นต้น
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
62. การจัดทำแผนที่แม่บทเพื่อจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. การจัดทำแผนที่แม่บทให้ตรวจสอบจากโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของ อปท. โดย อปท. อาจจะจัดทำแผนที่แม่บทครอบคลุม ทั้งพื้นที่หรือเพียงบางส่วนของพื้นที่ก็ได้
2. กรณี อปท. ได้จัดทำด้วยระบบมือ และระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ถือว่าได้คะแนนในข้อนี้
3. กรณี อปท. จัดทำด้วยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (LTAX GIS) ของ สถ. หรือด้วยโปรแกรมของหน่วยงานอื่น ให้ตรวจสอบการจัดทำแผนที่แม่บทในแต่ละขั้นตอนจากโปรแกรมฯ นั้นฯ ซึ่งจะต้องปรากฏข้อมูลแผนที่แม่บท ตามขั้นตอนที่ (1) – (4)
63. ผลการคัดลอกข้อมูลที่ดิน เพื่อจัดทำแผนที่แม่บทเพื่อจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. ในการคัดลอกข้อมูลที่ดิน อปท.ต้องขอถ่ายเอกสารในสารบบที่ดิน (ทด.1 ทด.9 นส.5) หรือพิมพ์จากระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (LIS) ของสำนักงานที่ดินแล้วคัดลอกข้อมูลที่ดินลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ทุกแปลง และกำหนดรหัสแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทที่จัดทำเสร็จ
2. การตรวจสอบว่า อปท. มีจำนวนแปลงที่ดินจำนวนกี่แปลง โดยตรวจสอบจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท.
64. ผลการสำรวจข้อมูลภาคสนาม เพื่อจัดทำแผนที่แม่บทเพื่อจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
1. การสำรวจข้อมูลภาคสนาม หมายถึง อปท.สำรวจรายละเอียดข้อมูลทรัพย์สินต่าง ๆของประชาชนในพื้นที่ โดยข้อมูลเกี่ยวกับที่ดินจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.1 ข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.2 ข้อมูลเกี่ยวกับป้ายและการประกอบการค้าบันทึกลงในแบบ ผ.ท.
2. การตรวจสอบว่า อปท. มีจำนวนแปลงที่ดินจากข้อมูลแผนที่แม่บท แต่ละแผนตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท.
65. การนำทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) และทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5) ไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินภาษี
1. ให้ตรวจสอบว่า ภ.ร.ด.2, ภ.บ.ท.5 และ ภ.ป.1 มีการประทับตราข้อความว่าได้ตรวจสอบกับ ผ.ท.4 และ ผ.ท.5 หรือไม่
2. ให้ตรวจสอบว่า ผ.ท. 5 ของผู้อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีว่าได้มีการบันทึกข้อมูลการชำระภาษี (รับยื่นแบบประเมิน และชำระภาษี) และ ได้มีการติดสลิปสีเขียวหรือไม่
66. การปรับข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) ให้เป็นปัจจุบัน
1. ให้ตรวจสอบจากแบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล (ผ.ท.13) จากผู้ที่รับผิดชอบจากหน่วยงานคลัง และผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ
2. ให้ตรวจสอบจากทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) ว่ามีการปรับปรุงข้อมูลตามแบบ ผ.ท.13 ตามข้อ 1 หรือไม่ (ข้อสังเกต) หากมีการปรับข้อมูลในทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) จะมีข้อมูลการปรับปรุง ดังนี้
2.1 มีรหัสแปลงที่ดินรหัสใหม่ขึ้นมา เช่น รหัสที่ดินเดิมเป็น 01A001 หากมีการปรับปรุงข้อมูลจะมีรหัสแปลงเพิ่มขึ้นมาเป็น 01A001/001 เป็นต้น
2.2 จะมีการขีดฆ่าข้อความเดิมด้วยปากกา สีแดงและเขียนข้อความใหม่
67. การปรับข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) ให้เป็นปัจจุบัน
1. ให้ตรวจสอบจากแบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล (ผ.ท.13) จากผู้ที่รับผิดชอบจาก ฝ่ายช่าง และผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ
2. ให้ตรวจสอบจากแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) ว่า มีการปรับปรุงข้อมูลตามแบบรายงาน ผ.ท.13 ตามข้อ 1 หรือไม่
68. อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย และภาษีบำรุงท้องที่
ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ที่ได้ชำระภาษี 3 เรื่อง ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้ายในปีงบประมาณ 2561 และ 2562 แล้วนำมาคำนวณเปรียบเทียบประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
69. อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เสียภาษีค่าธรรมเนียมและใบอนุญาต ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีโดยนับจำนวนผู้ที่ได้ชำระค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ในปี 2561 และ 2562 แล้วนำมาคำนวณ เพื่อเปรียบเทียบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
70. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีเกินกว่า 3 ปี เป็นอัตราร้อยละของผู้ชำระภาษีปีปัจจุบัน
ตรวจสอบจากรายละเอียดลูกหนี้ผู้ค้างชำระเกิน 3 ปี เทียบกับรายละเอียดผู้ชำระภาษี (กค.1) หรือทะเบียนลูกหนี้ผู้ชำระภาษี
71. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีลดลงจากปีที่ผ่านมาเป็นอัตรา ร้อยละ
ตรวจสอบจากทะเบียนลูกหนี้ผู้ชำระภาษีเกี่ยวกับรายละเอียดลูกหนี้ผู้ค้างชำระปี 2561 กับปี 2562
72. การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ของเทศบาล หรือองค์การบริหารส่วนตำบล
รายรับจริงประกอบงบทดลอง ประจำปีงบประมาณ 2562 ของภาษี 3 เรื่อง (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
73. การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงิน ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
รายรับจริงประกอบงบทดลอง ประจำปีงบประมาณ 2561 และ 2562 ของค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบ ประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
74. สัดส่วนจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ค่าธรรมเนียม และใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ที่จัดเก็บได้โดยรวมต่อจำนวนเงินผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีทั้งหมดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
จำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากรายรับจริงประกอบงบทดลอง ปีงบประมาณ 2562 กับจำนวนเงิน ผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีและค่าธรรมเนียมจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (กค.1) หรือทะเบียน คุมชำระภาษี (ผท.5) โดยนำมาคำนวณ เพื่อเปรียบเทียบ
หน่วยที่ 2 การจัดทำงบประมาณ
79. การตรวจรับพัสดุงานจ้างก่อสร้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้างจะต้องตรวจผลงาน ภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันที่ประธานกรรมการได้รับทราบการส่งมอบงาน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ใบจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
3. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการเห็นชอบการใช้จ่ายเงินสะสม
4. หนังสือส่งมอบงานของผู้รับจ้าง
5. ใบตรวจรับพัสดุของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง
80. การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างโดยผู้ควบคุมงานได้จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตามสัญญาในวันกำหนดเริ่มงานและในวันที่กำหนดส่งมอบงานแต่ละงวด โดยได้รับงานว่าเป็นไปตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่รับผิดชอบบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุที่เป็นงานจ้างก่อสร้างทราบภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันถึงกำหนดนั้นหรือไม่
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ใบจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
3. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการเห็นชอบการใช้จ่ายเงินสะสม
4. หนังสือส่งมอบงานของผู้รับจ้าง
5. ใบตรวจรับพัสดุของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง
81. การตรวจสอบพัสดุประจำปี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตรวจสอบพัสดุคงเหลือมีตัวตนอยู่ตรงตามบัญชีหรือทะเบียนหรือไม่ มีพัสดุใดหมดความจำเป็น ให้แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุและรายงานผลการตรวจสอบต่อผู้แต่งตั้ง ภายใน 30 วันทำการ นับแต่วันเริ่มดำเนินการตรวจสอบพัสดุ
1. คำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
2. รายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจำปี ที่ผู้บริหารท้องถิ่นได้รับทราบแล้ว
82. การประหยัดงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี และมีเงินเหลือจ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้าง
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ใบจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
3. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการเห็นชอบการใช้จ่ายเงินสะสม
4. ฎีกาเบิกจ่ายเงิน (ให้ตรวจฎีกาจริงเท่านั้น ไม่อนุญาตให้ถ่ายเอกสาร)
83. มีการประกาศผลผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผู้ได้รับการคัดเลือก และสาระสำคัญของสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ กรณีที่ไม่ได้ดำเนินการในระบบ e-GP ประจำปีงบประมาณ 2562 ตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศผล ผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผู้ได้รับการคัดเลือก และสาระสำคัญของสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ ดังนี้
1. ลำดับที่
2. เลขประจำตัวผู้เสียภาษี/เลขประจำตัวประชาชน
3. ชื่อผู้ประกอบการ
4. รายการพัสดุที่จัดซื้อจัดจ้าง
5. จำนวนเงินรวมที่จัดซื้อจัดจ้าง
6. เอกสารอ้างอิง
7. เหตุผลสนับสนุน
ประกาศผลผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผู้ได้รับการคัดเลือก
การเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ และของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
84. กรณีงานซื้อหรือจ้างที่มีวงเงินเกินห้าแสนบาท องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ประกาศเผยแพร่ราคากลางตามแนวทางของกรมบัญชีกลางในเว็บไซต์อย่างน้อย 2 เว็บไซต์ขึ้นไปตามแบบและหลักเกณฑ์ที่กำหนด
1.ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
2. การเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ ศูนย์ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ, ของ อปท. และอื่น ๆ โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
85. การดำเนินการเกี่ยวกับราคากลาง
1.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง
2.รายงานการประชุมคณะกรรมการกำหนดราคากลาง
3.เอกสารที่ได้รับการเห็นชอบราคากลางจากผู้บริหารท้องถิ่น
หน่วยที่ 3 การบริหารงบประมาณรายจ่าย การจัดทำบัญชี และรายงานการเงิน
86. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เบิกจ่ายเงินงบประมาณในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
1.รายงานรับ – จ่ายเงินสด ประจำเดือน กันยายน 2562
2.ทะเบียนรายรับ - รายจ่าย
3.ฎีกาเบิกจ่ายเงิน
87. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินต่อหน่วยงานคลัง ทุกไตรมาส และเบิกจ่ายเงิน 4 ประเภท (ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) เป็นไปตามแผนการ ใช้จ่ายเงิน
รายจ่ายตามรายงานรับ-จ่ายเงินสดประจำเดือน เมื่อสิ้นปีงบประมาณเปรียบเทียบกับแผน การใช้จ่าย
88. การกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม กรณี ยังไม่ก่อหนี้ผูกพันในหมวดครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง เป็นอัตราร้อยละของงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
รายงานการประชุมสภาท้องถิ่นฯ
บันทึกอนุมัติให้กันเงิน กรณีไม่ก่อหนี้ผูกพัน ในหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เปรียบเทียบกับงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
89. การวางฎีกาเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานผู้เบิกอย่างช้าไม่เกิน 5 วัน นับจากวันที่ได้ตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานถูกต้อง
1.ใบตรวจรับพัสดุ
2.ใบตรวจรับงาน
90. การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ที่มิใช่รายจ่ายประจำ พิจารณาจากการเบิกจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
หลักฐานการเบิกจ่าย หรือสรุปรายงานการเบิกจ่ายภายในปีงบประมาณ 2562 (ไม่รวมการกันใบเหลื่อมปี)
หน่วยที่ 4 การบริหารการเงินและการบัญชี
91. การบันทึกบัญชีเป็นปัจจุบันและจัดทำรายงานการเงินประจำเดือนเสนอผู้บริหารท้องถิ่นได้ในเดือนถัดไป โดยเฉลี่ย
บันทึกเสนอรายงานการเงินประจำเดือน
92. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1.รายงานประมาณการรายรับ-รายจ่ายจากระบบ e-LAAS ที่เมนูระบบงบประมาณ > อนุมัติเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติ
2.รายงานการโอนงบประมาณการโอนเปลี่ยนแปลง/การแก้ไข คำชี้แจงงบประมาณ จากระบบ e-LAAS ที่เมนูระบบงบประมาณ > รายงาน > การโอนเปลี่ยนแปลง/การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณ
93. การดำเนินการรับ และบันทึกข้อมูลในระบบ e-LAAS
1.ตรวจสอบด้านรายรับจากสมุดเงินสดรับ/ทะเบียนรายรับที่บันทึกบัญชีมือ
2.นำไปเปรียบเทียบกับสมุดเงินสดรับ/ทะเบียนเงินรายรับ ที่บันทึกข้อมูลในระบบ e-LAAS ที่เมนู ระบบข้อมูลรายรับ> สมุดเงินสดรับ/ทะเบียนต่าง ๆ > สมุดเงินสดรับ/ทะเบียนเงินรายรับ
94. การดำเนินการจ่ายเงินและบันทึกข้อมูลในระบบ e-LAAS
1.ตรวจสอบด้านรายจ่ายจากสมุดเงินสดจ่าย
2.นำไปเปรียบเทียบกับสมุดเงินสดจ่ายทะเบียนต่างๆ ที่บันทึกข้อมูลในระบบ e-LAAS ที่เมนู ระบบข้อมูลรายรับ> สมุดเงินสดจ่าย/ทะเบียนต่างๆ > สมุดเงินสดจ่าย
95. การปิดบัญชีและจัดทำงบแสดงฐานะการเงินประจำปี 2562 ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)
1.ตรวจสอบการปิดบัญชีและการจัดทำงบแสดงฐานะการเงินประจำปี พ.ศ. 2562 ในระบบ e-LAAS ที่เมนูระบบบัญชี > รายงานงบการเงิน> รายงานประจำปี > งบแสดงฐานะการเงินและหมายเหตุประกอบ> งบแสดงฐานะการเงิน
2.ตรวจสอบหมายเหตุประกอบงบแสดงฐานะการเงินที่เมนูระบบบัญชี > รายงานงบการเงิน> รายงานประจำปี > งบแสดงฐานะการเงินและหมายเหตุประกอบ> หมายเหตุประกอบงบแสดงฐานะการเงิน
หน่วยที่ 5 บำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น
96. การส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ก.บ.ท.) ประจำปีงบประมาณ 2562 ครบถ้วนถูกต้องตามอัตราและระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
1.ประมาณการรายรับตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2562
2.รายจ่ายบำเหน็จบำนาญฯ (ไม่อนุญาตให้ ถ่ายเอกสาร)2.
97. การจัดส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญส่วนท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ย้อนหลัง 5 ปี (ประจำปีงบประมาณ 2558 – 2562)
1.ประมาณการรายรับตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2562
2.รายจ่ายบำเหน็จบำนาญฯ (ไม่อนุญาตให้ ถ่ายเอกสาร)
หน่วยที่ 6 ผลสัมฤทธิ์การบริหารงานการเงินและการคลัง
98. การทักท้วงด้านการพัสดุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
1.ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปี หรือรายไตรมาสของ อปท.
99. การทักท้วงด้านการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
1.ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปีหรือรายไตรมาสของ อปท.
100. การทักท้วงด้านการจัดเก็บรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากหน่วยงาน ที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
1.ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปีหรือรายไตรมาสของ อปท.
101. มีการทักท้วงด้านการเบิกจ่ายเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
1.ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็น ลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปีหรือรายไตรมาสของ อปท.
102. มีการดำเนินการตามข้อทักท้วงของหน่วยที่ตรวจสอบและดำเนินการแจ้งให้ทราบครบ ทุกเรื่อง (ด้านการงบประมาณ/พัสดุ/การเบิกจ่ายเงิน/การจัดเก็บรายได้)
1.ข้อทักท้วงและการดำเนินการตามข้อทักท้วงของ สตง./จังหวัด/บุคลากร สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปีหรือรายไตรมาสของ อปท.
ด้านที่ 4 การบริการสาธารณะ
หน่วยที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน
หน่วยย่อยที่ 1 ด้านถนน ทางเดิน และทางเท้า
103. การจัดทำแผนการตรวจสอบถนนใน ความรับผิดชอบขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวนถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.) เพื่อทราบจำนวนถนนทั้งหมดของ อปท.
2. แผนการตรวจสอบถนนประจำปีโดยจัดลำดับการตรวจสอบตามความจำเป็น
3. บันทึกขออนุมัติแผนพัฒนาถนนท้องถิ่น
4. บันทึกรายงานผลการตรวจที่ปรากฏ ข้อสั่งการของผู้บริหารลงนามรับทราบผล การตรวจสอบ
5. แผนที่ถนน ในกรณีที่ อปท.ยังไม่มี การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
6. ให้ตรวจสอบถนนในแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อให้สอดคล้องกับบัญชีพัฒนาถนนด้วย (ต้องตรงกันหรือใกล้เคียงกันมากที่สุด)
104. ร้อยละของการซ่อมแซม/ปรับปรุง/ต่อเติมถนน ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามรายงานผลการตรวจสอบถนนประจำปี
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวนถนน ทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.) เพื่อทราบจำนวนถนนทั้งหมดของ อปท.
2. แผนการตรวจสอบถนนประจำปี โดยจัดลำดับการตรวจสอบตามความจำเป็น ที่ปรากฏข้อสั่งการของผู้บริหารลงนามรับทราบผลการตรวจสอบและสั่งการ
3. ผลการซ่อมแซม/ปรับปรุง/ต่อเติมถนน ในความรับผิดชอบของ อปท.
4. ภาพถ่ายก่อนและหลังซ่อมแซม
105. ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ส่งไปขอลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (ส่งเป็นหนังสือพร้อมเอกสารหลักฐานที่ครบถ้วนถูกต้องไปยังจังหวัด)
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวนถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.)
2. หลักฐานการส่งไปลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5)
106. ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ได้ลงทะเบียน เป็นทางหลวงท้องถิ่น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวน ถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.)
2. หลักฐานการลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5)
107. ร้อยละของความยาวถนนลาดยาง/คอนกรีตต่อความยาวของถนนทั้งหมดใน ความรับผิดชอบขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (ณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562)
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน
2. รายงานประจำปีเกี่ยวกับการก่อสร้างถนนลาดยาง (เป็นการลาดยางทุกประเภท)/คอนกรีต
3. ภาพถ่าย
108. การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
1. เอกสารหลักฐานการสำรวจฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน
2. เอกสารรายงานฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน
3. แผนพัฒนาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานหรือการวิเคราะห์หรือการพัฒนาท้องถิ่น
109. ร้อยละของสถานที่สาธารณะที่อยู่ในการดูแล รักษา หรือบริหารจัดการของเทศบาล ที่มีการดำเนินงานด้านอารยสถาปัตย์ (Universal Design)
1. แผนงาน/โครงการด้านอารยสถาปัตย์
2. แบบแปลน
3. ภาพถ่าย
4. รายงานผลการดำเนินงาน
5. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
หน่วยย่อยที่ 2 ด้านไฟฟ้าสาธารณะ
110. ร้อยละของถนนทุกสายอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ และสามารถใช้งานได้
1. ข้อมูลถนนสายหลักของ อปท.
2. แบบแปลนหรือแผนผังการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะหรือสุ่มดูข้อมูลตามจุดเสี่ยง
3. หนังสือร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง
4. ภาพถ่าย
111. ร้อยละของถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ และสามารถ ใช้งานได้
1. ข้อมูลถนนทุกสายของ อปท.
2. แผนงาน/โครงการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ
3. แบบแปลน/แผนผังแสดงที่ตั้งไฟฟ้าสาธารณะ
4. ภาพถ่าย
112. การดูแลบำรุงรักษา/ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ใน ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. แผนการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
2. บันทึกขออนุมัติแผนการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของ อปท.
3. รายงานผลการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
หน่วยย่อยที่ 3 น้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค
113. การตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภคขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ครบทุกระบบประปา
1. รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำประปาโดยเครื่องมือภาคสนามอย่างง่าย
2. รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำที่ได้มาตรฐานน้ำอุปโภคบริโภค จากหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบคุณภาพน้ำ
3. ผลดำเนินการสืบเนื่องจากการตรวจสอบ
4. ภาพถ่าย
114. ร้อยละของครัวเรือนที่มีน้ำประปา ใช้และ มีปริมาณเพียงพอต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง
สอบถามจากประชาชนผู้ใช้น้ำประปาในหมู่บ้าน/ชุมชน อย่างน้อย 3 ราย อย่างไม่เป็นทางการ โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย
หน่วยย่อยที่ 4 การตรวจสอบอาคาร
115. การดำเนินการเกี่ยวกับอาคาร 9 ประเภท ตาม ม. 32 ทวิ พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
1. แบบบันทึกข้อมูลอาคาร 9 ประเภท
2. หนังสือแจ้งเจ้าของอาคาร 9 ประเภทให้ดำเนินการ
3. หนังสือรับรองการตรวจสภาพอาคารของเจ้าของอาคาร
116. การดำเนินการเกี่ยวกับอาคารที่อาจไม่เข้าข่ายอาคาร 9 ประเภท
1. คำสั่งจัดตั้งคณะทำงานดำเนินการตรวจสอบอาคารที่ไม่เข้าข่ายฯ และเป็นปัจจุบัน
2. รายงานผลการดำเนินงานตรวจสอบอาคาร ที่ไม่เข้าข่ายฯ และการสั่งแก้ไขหากพบข้อบกพร่อง
3. หนังสือรายงานผลให้จังหวัดทราบ
หน่วยที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
หน่วยย่อยที่ 1 การศึกษา
117. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
1. แผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2561 - 2565) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 - 2565)
118. คะแนนเฉลี่ยรวมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด อปท. เฉลี่ยรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในทุกระดับที่สอบ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยรวมของปีการศึกษาที่ผ่านมา
ผลคะแนนเฉลี่ยรวมการสอบ O-NET ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด อปท. เปรียบเทียบกันระหว่าง ปีการศึกษา 2561 กับปีการศึกษา 2562
119. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
120. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนและการดำเนินกิจกรรมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
121. การดำเนินการเพื่อจัดให้มีหรือส่งเสริมการจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ชุมชนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
122. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
123. มีที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน/ชุมชนที่เป็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเองและเป็นไปตามแนวทางที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) กำหนด
1. สถานที่ตั้งของที่อ่านหนังสือ
2. ภาพถ่าย / สภาพการใช้งาน
3. เอกสารและภาพถ่ายการจัดกิจกรรม
4. แผนการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการอ่าน
5. แผนงาน/โครงการ กิจกรรมรณรงค์ฯ
6. คำสั่งแต่งตั้ง/มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ฯลฯ
124. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการเพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กในสังกัดจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และ ที่มีการปรับปรุง/หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560
1. หลักฐานการจัดโครงการ/กิจกรรม
2. หลักฐานการส่งบุคลากรเข้าฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง
3. แผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัยหรือหนังสือรับรองของผู้อำนวยการ/หัวหน้าสถานศึกษาว่า ครู/ ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/ประสบการณ์ปฐมวัย
125. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการเพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กในสังกัดดำเนินการจัดการเรียนรู้/จัดประสบการณ์ปฐมวัยให้สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัย
1. หลักฐานการดำเนินการโครงการ/กิจกรรม
2. หลักฐานส่งครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก เข้ารับการฝึกอบรม/พัฒนา ฯลฯ
126. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรม หรือโรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรม/ชุมนุม/หลักสูตรจัดการเรียนรู้ ตามความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจของผู้เรียน
1. หลักสูตรสถานศึกษา
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. เอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ
127. โรงเรียนในสังกัดมีการจัดการเรียนการสอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษเรียนรวม
1. ข้อมูลนักเรียน
2. ข้อมูลการสนับสนุนอุปกรณ์ การเรียนหรืออุปกรณ์อื่น
3. หลักฐานการบรรจุ/จ้าง/คำสั่ง แต่งตั้ง ครูสอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
4. เอกสารหลักฐานที่แสดงว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/โรงเรียนในสังกัดมีนโยบาย รับ นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ฯลฯ
128. สถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการตาม วัยของนักเรียน
1. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
2. เอกสารที่แสดงว่ามีการดำเนินการตามกิจกรรม
2. เอกสารที่แสดงว่ามีการดำเนินการตามกิจกรรม
3. เอกสาร/หลักฐานแสดงการมีมาตรการ
4. ภาพถ่าย
129. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาในสังกัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษา
1. บันทึกการขออนุญาตไปราชการเพื่อเข้ารับการฝึกอบรม เกี่ยวกับประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา หรือหลักฐานอื่นที่เข้าร่วมการฝึกอบรม
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
3. แผนการติดตาม/รายงานผลการติดตามที่เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
4. รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) รายงานการตรวจสอบรายงานผลการประเมินตนเอง(SAR) ของสถานศึกษาที่ผู้รับผิดชอบ
5. เสนอผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือเอกสารหลักฐานอื่นที่แสดงเห็นว่ารายงานฯ (SAR) ได้รับการตรวจสอบจากต้นสังกัด
หน่วยย่อยที่ 2 สาธารณสุข
130. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้ทำหน้าที่ดูแลสุขภาพในหมู่บ้าน/ชุมชน
1. แผนพัฒนาสุขภาพหรือแผนงานสาธารณสุข
1. แผนพัฒนาสุขภาพหรือแผนงานสาธารณสุข
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
3. กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
4. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
5. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
131. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนใน การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค
1. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS)
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่ จัดกิจกรรม
4. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
132. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคต่าง ๆ รวมถึงการเตรียม ความพร้อมการรับมือโรคติดต่อโรคอุบัติใหม่ให้แก่ประชาชน (ไม่ใช่การให้ความรู้)
1. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS)
2. ภาพถ่ายกิจกรรม (ไม่ใช่กิจกรรมเฉพาะบุคคล)
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
133. การบริหารจัดการการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในท้องถิ่น
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานด้านเศรษฐกิจ (e-LAAS)
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. เอกสารหรือฐานข้อมูล Rabies One Data
5. วัสดุ อุปกรณ์ ในระบบลูกโซ่ความเย็น เช่น ตู้เย็นเก็บวัคซีน เทอร์โมมิเตอร์ กระติก กล่องโฟม Ice pack Data Logger
134. จำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนในการดูแลสุขภาพประชาชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS)
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
5. หนังสือขอรับการสนับสนุน
135. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสุขาภิบาล อาหาร และด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค
1. เอกสารการสมัครเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
2. เอกสารการประเมินตนเองตามแบบมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.
3. เอกสารแบบประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.แต่ละด้านที่มีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
4. เอกสารสรุปผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.ที่มีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
136. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการจัดการ สิ่งปฏิกูลและด้านการจัดการ มูลฝอย
1. เอกสารการสมัครเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
2. เอกสารการประเมินตนเองตามแบบมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.
3. เอกสารแบบประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.แต่ละด้านที่มีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
4. เอกสารสรุปผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.ที่มีกาลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
หน่วยย่อยที่ 3 ส่งเสริมสตรีและครอบครัว
137. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อการพัฒนาสตรี ในพื้นที่
1. โครงการกิจกรรมของ อปท.
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
3. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ฯ
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
138. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อส่งเสริมความรัก และความอบอุ่นในครอบครัว
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
หน่วยย่อยที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาคนพิการและผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง
139. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการ (นอกเหนือจากการจ่ายเบี้ยความพิการ)
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
140. จำนวนครั้งที่เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล สามารถดำเนินการจ่ายเบี้ยความพิการได้ครบถ้วนถูกต้องตามประกาศเทศบาล/อบต. เรื่องบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยความพิการของเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน
1. หลักฐานการจ่ายเงินเบี้ยความพิการ ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน ตามระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยความพิการ ให้คนพิการของ อปท. พ.ศ. 2553 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562
2. การโอนเข้าบัญชีธนาคาร (กรณีรับผ่านบัญชีธนาคาร)
3. หลักฐานการจ่ายเงิน/รับเงิน (กรณีรับเงินสด)
141. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อพัฒนาผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง (ยกเว้นคนเร่ร่อนและขอทาน)
1. ข้อมูลผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง จากหน่วยงานราชการต่าง ๆ หรือองค์กรภาคประชาสังคม ต่าง ๆ
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. โครงการที่มีการดำเนินการจริง
4. รายงานผลการดำเนินการ ต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
5. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
หน่วยย่อยที่ 5 ส่งเสริมผู้สูงอายุ
142. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้จัดทำกิจกรรมตามมาตรฐานการสงเคราะห์ผู้สูงอายุตามองค์ประกอบ 5 ด้าน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
143. การจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล
1. ฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่เป็นปัจจุบัน
2. เอกสารรายงานฐานข้อมูลผู้สูงอายุ ต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
144. จำนวนครั้งที่เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบลสามารถดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุได้ครบถ้วนถูกต้องตามประกาศเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล เรื่อง บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายในวันที่ 10 ของเดือน
1. หลักฐานการจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน ตามระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ. 2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562
2. การโอนเข้าบัญชีธนาคาร (กรณีรับผ่านบัญชีธนาคาร)
3. หลักฐานการจ่ายเงิน/รับเงิน (กรณีรับเงินสด)
หน่วยย่อยที่ 6 พัฒนาเด็กและเยาวชน
145. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมตามวัย (สำหรับกิจกรรมที่ใช้งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
1. แผนงาน/โครงการกิจกรรม แต่ละประเภท
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
5. หนังสือแจ้งขอความร่วมมือกรณีได้รับการประสานจากหน่วยงานอื่น กรณีไม่ใช้งบประมาณของ อปท.
6. รายงานผลการดำเนินการ
146. ร้อยละของเด็กอายุ 2 – 5 ปี ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. ข้อมูลเด็กอายุ 2-5 ปี ในเขต อปท.
2. ทะเบียนราษฎร์
3. ข้อมูลแจกแจงสถานที่ที่เด็กได้รับการเตรียม ความพร้อม
4. ข้อมูล จปฐ.
5. ข้อมูลของกรมอนามัย
6. ข้อมูลจากผู้นำชุมชน ประชาคม
7 แผนงานโครงการของ อปท.
8. ภาพถ่าย
9. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
10. ฎีกาเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
147. จำนวนลานกีฬา/สนามกีฬา ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการจัดให้มี เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ในการแข่งขันกีฬา หรือออกกำลังกาย
1. ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา ตามแบบแปลนหรือแผนผังของ อปท.
2. ข้อมูลหรือสถิติการใช้ลานกีฬา/สนามกีฬา
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
148. จำนวนของลานกีฬา/สนามกีฬาในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ประชาชนสามารถ ใช้เล่นกีฬาและนันทนาการได้ตลอดทั้งปี
1. สอบถามผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน โดยการสุ่ม อย่างง่าย
2. หนังสือยืนยันจากผู้นำชุมชน/ประชาชน/กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. ข้อมูลหรือสถิติการใช้ลานกีฬา/สนามกีฬา
149. จำนวนกิจกรรมหลักเพื่อการส่งเสริมกีฬาของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด้านการส่งเสริมกีฬา
2. บัญชีรายชื่อชมรม/สโมสรการออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬา
3. บัญชีอุปกรณ์กีฬา/อุปกรณ์การออกกำลังกาย
4. ข้อมูลหรือสถิติการใช้ลานกีฬา/สนามกีฬา
5. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
6. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมิน ฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
หน่วยที่ 3 การวางแผนการส่งเสริมการลงทุนพาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
หน่วยย่อยที่ 1 ส่งเสริมอาชีพ
150. จำนวนประเภทอาชีพหรือกิจกรรมที่จัดให้มีการฝึกอบรมแก่ประชาชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการ/กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
3. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
151. จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมการประกอบอาชีพ นอกเหนือจากการฝึกอบรม
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการ/กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
3. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
หน่วยย่อยที่ 2 ส่งเสริมการท่องเที่ยว
152. การสนับสนุนหรือจัดให้มีสิ่งอำนวย ความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการ/กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
3. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
153. สนับสนุนหรือจัดให้มีการโฆษณา/ประชาสัมพันธ์ให้แก่นักท่องเที่ยว
1. ศูนย์ข้อมูลสำหรับนักท่องเที่ยว
2. แผนส่งเสริมการท่องเที่ยว
3. หลักฐานการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ของ อปท.
4. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
5. รายงานประจำปี
6. ภาพถ่ายกิจกรรม
7. ผลการสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว
154. การจัดทำฐานข้อมูลตลาด
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานด้านเศรษฐกิจ (e-LAAS)
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
155. จำนวนกิจกรรมในการส่งเสริมการดำเนินกิจการของตลาด
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานด้านเศรษฐกิจ (e-LAAS)
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากงบประมาณของ อปท.หรือเงินอุดหนุนจากหน่วยงานอื่นของรัฐหรือเอกชนเป็นผู้สนับสนุน
5. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
6. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
156. การพัฒนาเพื่อยกระดับตลาดที่อยู่ในสังกัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ได้มาตรฐาน ใน 7 ด้าน
1. แนวทางในการติดตามและตรวจสภาพตลาด
2. รายงานผลการดำเนินการต่อผู้บริหาร
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากงบประมาณของ อปท.หรือเงินอุดหนุนจากหน่วยงานอื่นของรัฐหรือเอกชนเป็นผู้สนับสนุน
หน่วยที่ 4 ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และภูมิปัญญาท้องถิ่น
หน่วยย่อยที่ 1 ส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม และศาสนา
157. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม และศาสนา
1. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
2. ภาพถ่าย
3. หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
4. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง
5. รายงานผลการดำเนินการ
หน่วยย่อยที่ 2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
158. การจัดทำฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. แผนงาน/โครงการในการจัดทำฐานข้อมูล
2. ช่องทางการประชาสัมพันธ์ลงในเว็บไซต์ของ อปท.
159. จำนวนกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
2. ภาพถ่าย
3. หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
4. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยที่ 5 การจัดระเบียบชุมชน และรักษาความสงบเรียบร้อย
หน่วยย่อยที่ 1 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
160. การจัดทำและดำเนินงานตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. แผนงาน/โครงการในการจัดทำแผนฯ
2. ฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยที่เคยเกิด และภัย ที่เกิดซ้ำในพื้นที่
3. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อปท.
4. แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมในการดำเนินการตามแผนฯ
5. เอกสารหลักฐานการตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันภัย
6. ภาพถ่าย
7. ระบบการแจ้งเตือนสามารถใช้งานได้
8. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
161. จำนวนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับ สาธารณภัยและป้องกันภัยแก่ประชาชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ
3. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
4. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
5. ภาพถ่าย
6. การเผยแพร่ทางสื่อต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ แผ่นพับ เป็นต้น
7. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
162. จำนวนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับสาธารณภัยและป้องกันภัยแก่เจ้าหน้าที่ป้องกันบรรเทาสาธารณภัย หรืออาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
1. แผนงาน/โครงการ
2. ภาพถ่าย
3. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
5. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
6. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
7. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
163. จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
1. แผนงาน/โครงการ การป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
2. ภาพถ่ายกิจกรรม
3. รายงานผลการดำเนินการด้านการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
4. หลักฐานการร่วมงานกับหน่วยงานอื่น
5. สถิติเรื่องร้องเรียน
164. จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดอัคคีภัยนอกเหนือไปจากการให้ความรู้
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ
3. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
4. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
5. ภาพถ่าย
6. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
7. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
8. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
165. จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการ เพื่อป้องกันภัยทางถนนแก่ประชาชนนอกเหนือจากการให้ความรู้
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ
3. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
4. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
5. ภาพถ่าย
6. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง
7. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
8. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยย่อยที่ 2 ส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน
166. จำนวนกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ
3. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
4. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
5. ภาพถ่าย
6. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
7. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
หน่วยย่อยที่ 3 ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
167. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่
1. ข้อมูลการประสานหน่วยงานอื่น เช่น ที่ทำการปกครองอำเภอ/ จังหวัด สาธารณสุขอำเภอ/จังหวัด สถานีตำรวจในพื้นที่ ฯลฯ
2. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ป้าย แผ่นพับ วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เว็บไซต์ ภาพถ่าย วารสาร แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว ฯลฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงการส่งเสริมบำบัดฟื้นฟูผู้ติด/ผู้เสพยา หรือการฝึกอบรม
หน่วยที่ 6 การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
หน่วยย่อยที่ 1 ทรัพยากรธรรมชาติ
168. จำนวนกิจกรรมเพื่อให้ความรู้ประชาชนในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
169. จำนวนกิจกรรมเพื่อการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(นอกเหนือจากการให้ความรู้ประชาชน)
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
170. การกำจัดผักตบชวาและวัชพืชในแหล่งน้ำสาธารณะ
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
3. หนังสือขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น(ถ้ามี)
4. แบบรายงานแผนปฏิบัติการกำจัดผักตบชวาและผลการปฏิบัติงานกำจัดผักตบชวาและวัชพืชในแหล่งน้ำสาธารณะและเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ กรณีตัดฐานการประเมินจะต้องมีหนังสือถึงจังหวัดหรืออำเภอให้ตรวจสอบด้วย (หนังสือฉบับจริง)
หน่วยย่อยที่ 2 น้ำเสีย
171. เทศบาลออกเทศบัญญัติควบคุมให้อาคาร หมู่บ้านจัดสรร บ้านเรือน ที่พักอาศัย ติดตั้ง บ่อดักไขมันและระบบน้ำเสียเฉพาะพื้นที่ หรือระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน
เทศบัญญัติ ที่ควบคุมให้อาคาร หมู่บ้านจัดสรร บ้านเรือน ที่พักอาศัย ติดตั้งบ่อดักไขมัน และระบบน้ำเสียเฉพาะพื้นที่ หรือระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน
172. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำฐานข้อมูลสภาพปัญหาน้ำเสียในพื้นที่
1. บันทึก/รายงานผลการสำรวจสภาพปัญหาน้ำเสียในพื้นที่
2. แบบบันทึกข้อมูล หรือ รายงานด้านน้ำเสียตามมาตรา 80 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
173. จำนวนกิจกรรมส่งเสริมความรู้แก่ประชาชน เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำในหมู่บ้าน/ชุมชน การใช้น้ำอย่างประหยัด และการจัดการ น้ำเสียในหมู่บ้าน/ชุมชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
174. จำนวนกิจกรรมเพื่อดำเนินการฟื้นฟูและบำบัดน้ำเสียครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน นอกเหนือไปจากการให้ความรู้
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยย่อยที่ 3 ขยะ
175. เทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น และ แผนพัฒนาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
1. แผนพัฒนาท้องถิ่น
2. เทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
176. จำนวนโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการลดและการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทางตามหลักการ 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) ที่ดำเนินการเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
177. มีการจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) หรือเครือข่ายอาสาสมัครอื่น เพื่อขับเคลื่อนการจัดการเรื่องขยะมูลฝอย
1. เอกสารแสดงหลักฐานการจัดตั้งกลุ่ม/เครือข่าย
2. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
178. การจัดทำฐานข้อมูลการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอย
1. ฐานข้อมูลขยะมูลฝอยที่เป็นปัจจุบัน
2. ตรวจสอบข้อมูลจากระบบสารสนเทศ มฝ.1 มฝ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
179. ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน มีจุดรวมขยะอันตรายชุมชน เมื่อคำนวณเปรียบเทียบกับร้อยละจำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. รายงานข้อมูลจุดรวมขยะอันตรายหมู่บ้าน/ชุมชน
2. ภาพถ่าย
180. หมู่บ้าน/ชุมชน ที่สามารถเป็นหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบภายใน อปท. เทียบกับ จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนทั้งหมดภายใน อปท.
181. จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการ ขยะมูลฝอยในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. รายงานผลการดำเนินงานของแหล่งเรียนรู้
2. จำนวนผู้เข้าไปใช้ประโยชน์ในแหล่งเรียนรู้
3. ภาพถ่าย
4. ให้สุ่มตรวจแหล่งเรียนรู้จริงอย่างน้อย 1 แห่ง
182. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พัฒนา และเพิ่มพื้นที่สีเขียว
1. แผนงาน/โครงการ
2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. รายงานประจำปี
5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
6. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
7. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
8. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
9. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
183. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อการจัดการคุณภาพอากาศ
1. แผนงาน/โครงการ
2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. รายงานประจำปี
5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
6. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
7. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
8. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
9. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
184. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อส่งเสริมการผลิต การบริโภค และการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1. แผนงาน/โครงการ
2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
6. หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
7. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
8. งบประมาณในการจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว
9. จำนวนครั้งหรือร้อยละในการใช้บริการจ้างเหมาที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อม
10. จำนวนการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่ผลิตในพื้นที่
11. หลักฐานแสดงการรับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
185. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
1. แผนงาน/โครงการ
2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. รายงานประจำปี
5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
6. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม/จำนวนผู้ใช้ประโยชน์
7. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
8. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
9. รายงานข้อมูลแสดงแนวโน้มการประหยัดไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง (ย้อนหลัง) ในพื้นที่ อปท. และสำนักงาน อปท.
10. จำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมกิจกรรมลดการใช้พลังงานหรือเปลี่ยนมาใช้พลังงานทดแทน
11. งบประมาณค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิง (ย้อนหลัง) ในสำนักงาน อปท.
12. จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน
หน่วยย่อยที่ 5 ก๊าซเรือนกระจก
186. แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
1. แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารการจัดก๊าซเรือนกระจก
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
187. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำรายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่
1. รายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ ตามคู่มือการจัดทำข้อมูลก๊าซเรือนกระจกขององค์การบริหารจัดการก๊าซกระจก (องค์การมหาชน)
2. ช่องทางการเผยแพร่ผลการดำเนินการ
ด้านที่ 5 ด้านธรรมาภิบาล
หน่วยที่ 1 นโยบายและการจัดกิจกรรม
188. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผน/แนวทางเพื่อการป้องกันและปราบปราม การทุจริตหรือการส่งเสริมความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. แผน/แนวทางเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือการส่งเสริมความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
189. กิจกรรมการบริหารราชการเพื่อป้องกัน การทุจริต
1. แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
2. การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparence Assessment : ITA)
3. เอกสาร รายการที่แสดงให้เห็นถึงการดำเนินการจริงในเชิงประจักษ์
190. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เข้าร่วมการประกวดเพื่อรับรางวัล ด้านธรรมมาภิบาล และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีด้านคุณธรรม จริยธรรม ความโปร่งใสและ การมีส่วนร่วมจากหน่วยงานต่าง ๆ
1. แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
2. การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparence Assessment : ITA)
3. เอกสาร รายการที่แสดงให้เห็นถึงการดำเนินการจริงในเชิงประจักษ์
หน่วยที่ 2 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารและการมีส่วนร่วม
191. การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
1. คำสั่ง/ประกาศจัดตั้งศูนย์ฯ พร้อมแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ที่เป็นปัจจุบัน
2. เอกสารที่เผยแพร่ในศูนย์ฯ ประกอบด้วยกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภท กฎหมายกระจายอำนาจ แผนพัฒนาท้องถิ่น งบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติม งบประมาณรายจ่ายอื่น ๆ และรายงาน การประชุมสภาท้องถิ่น
3. สถิติผู้มารับบริการศูนย์ข้อมูลข่าวสาร และสรุปผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
4. หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการรับฟังความคิดเห็นการรับและตอบสนองเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของประชาชน
5. หลักฐานที่มีการแสดงให้เห็นถึงการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมบริหารกิจการของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
192. การเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกในการตรวจสอบการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. รายงานระดับหน่วยงานของรัฐ ตามแบบ ปค.1 แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6 พร้อมหนังสือนำส่งรายงานให้ ผู้กำกับดูแล
2. เอกสารที่แสดงให้เห็นถึงการให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการปฏิบัติราชการและการประชุมสภาท้องถิ่น
3. เอกสารที่แสดงหรือข้อเท็จจริงที่แสดงได้หรือเห็นถึงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4. รายงานการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ : ITA ปี 2562
หน่วยที่ 3 การมีระบบ/กลไกจัดการกับเรื่องร้องเรียน
193. การมีระบบ/กลไกจัดการกับเรื่องร้องเรียน
1. คำสั่งกำหนดหน่วยงาน/มอบหมายผู้รับผิดชอบโดยตรงในการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียน
2. ช่องทางการร้องเรียน
3. เอกสาร/หลักฐานการประชาสัมพันธ์
4. เอกสาร/หลักฐานการส่งเรื่องร้องเรียนให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ พร้อมผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน
194. มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. มีแผนปฏิบัติการตามตัวชี้วัด ITA ตัวชี้วัดที่ 10.1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรและตัวชี้วัดย่อย 10.2 มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
2. มีการกำหนดขั้นตอน วิธีการ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรื่องร้องเรียน หรือการทุจริต
3. มีการกำหนดขั้นตอน วิธีการที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบการปฏิบัติงาน
4. เอกสาร รายการที่แสดงให้เห็นถึงการดำเนินการจริงในเชิงประจักษ์
สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์
สถิติการเข้าชมเริ่มวันที่
วันนี้
เมื่อวานนี้
เดือนนี้
เดือนก่อน
ปีนี้
ปีก่อน
ทั้งหมด
ไอพี ของคุณ
01/05/2556
728
4014
5483
23562
48533
65191
483289
3.235.11.178